Home/ข้อสอบออนไลน์/ข้อสอบ พรบ.ข้อมูลข่าวสาร/ข้อสอบออนไลน์ พรบ.ข้อมูลข่าวสาร ชุด 2 ข้อสอบ พรบ.ข้อมูลข่าวสารข้อสอบออนไลน์ ข้อสอบออนไลน์ พรบ.ข้อมูลข่าวสาร ชุด 2 Authain Follow on Twitter May 18, 2022 449 Less than a minute Share Facebook Twitter Tumblr Pinterest Skype Messenger Messenger Line 0% 207 Created by Authain ข้อสอบออนไลน์ พรบ.ข้อมูลข่าวสาร ชุด 2 Name แนวคิดในการจัดทำกฏหมายข้อมูลข่าวสารในประเทศไทยเกิดขึ้นอย่างจริงจังเป็นครั้งแรกในสมัยนายกรัฐมนตรีท่านใด นายชวน หลีกภัย นายสมัคร สุนทรเวช นายอานันท์ ปันยารชุน พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ นายอานันท์ ปันยารชุน ในพระราชบัญญัตินี้ ข้อใดคือความหมายของ “ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ” ที่ถูกต้อที่สุด ข้อมูลข่าวสารที่อยู่ในความครอบครองหรือควบคุมดูแลของหน่วยงานของรัฐไม่ว่าจะเป็นข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดำเนินงานของรัฐหรือข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับเอกชน ข้อมูลข่าวสารที่อยู่ในความครอบครองของหน่วยงานของรัฐ ข้อมูลข่าวสารที่อยุ่ในความครอบครองหรือควบคุมดูแลของหน่วยงานของรัฐไม่ว่าจะเป็นข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดำเนินงานของรัฐหรือข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับเอกชนรวมถึงข้อมูลที่เอกชนเก็บรักษาไว้ด้วย ข้อมูลข่าวสารที่อยู่ในความควบคุมดูแลของหน่วยงานของรัฐ ข้อมูลข่าวสารที่อยู่ในความครอบครองหรือควบคุมดูแลของหน่วยงานของรัฐไม่ว่าจะเป็นข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดำเนินงานของรัฐหรือข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับเอกชน (ตามมาตรา 4) ผู้ใดเป็นผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีฯ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม คณะรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรี (ตามมาตรา 5) หน่วยงานของรัฐต้องส่งข้อมูลข่าวสารของราชการอย่างน้อยดังต่อไปนี้…”ลงพิมพ์ในข้อใด ถูกทุกข้อ ราชกิจจานุเบกษา หนังสือเวียน หนังสือพิมพ์รายวัน ราชกิจจานุเบกษา (ตามมาตรา 7) ในกรณีที่มีการร้องเรียนต่อคณะกรรมการ ที่ผู้ขอตรวจข้อมูลข่าวสารของราชการมีสิทธิร้องเรียนต่อคณะกรรมการตามพระราชบัญญัตินี้ และคณะกรรมการต้องพิจารณาให้แล้วเสร็จ ภายในกี่วัน นับแต่วันที่ได้รับคำร้องเรียน ภายใน 90 วัน ภายใน 30 วัน ภายใน 120 วัน ภายใน 60 วัน ภายใน 30 วัน (ตามมาตรา 13 วรรคสอง) ให้จัดตั้งสำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการขึ้นในสำนักงานใด ถูกทุกข้อ สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี สำนักงานตำรวจแห่งชาติ สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (ตามมาตรา 6 ) พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 นี้ ให้ใช้บังคับเมื่อใด พ้นกำหนดร้อยยี่สิบห้าวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกศาเป็นต้นไป พ้นกำหนดเก้าสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกศาเป็นต้นไป พ้นกำหนดหกสิบวันนัยแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกศาเป็นต้นไป พ้นกำหนดร้อยแปดสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกศาเป็นต้นไป พ้นกำหนดหกสิบวันนัยแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกศาเป็นต้นไป (มาตรา2) คำสั่งมิให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการห้ามกำหนดเงื่อนไข คำสั่งมิให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการกำหนดเงื่อนไขอย่างใดก็ได้ไม่ต้องระบุไว้แต่อย่างใด คำสั่งมิใหเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการห้ามกำหนดเงื่อนไข คำสั่งมิใหเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการจะกำหนดเงื่อนไขอย่างใดก็ได้แต่ต้องระบุไว้ด้วยว่าที่เปิดเผยไม่ได้เพราะเป็นข้อมูลข่าวสารประเภทใด คำสั่งมิให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการจะกำหนดเงื่อนไขอย่างใดก็แต่แต่ต้องระบุไว้ด้วยว่าที่เปิดเผยไม่ได้เพราะเป็นข้อมูลข่าวสารประเภทใดเพระเหตุใด คำสั่งมิให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการจะกำหนดเงื่อนไขอย่างใดก็แต่แต่ต้องระบุไว้ด้วยว่าที่เปิดเผยไม่ได้เพราะเป็นข้อมูลข่าวสารประเภทใดเพระเหตุใด (ตามมาตรา15 วรรคสอง) ข้อมูลข่าวสารของราชการที่หน่วยงานของรัฐจัดหาให้ ต้องเป็นข้อมูลข่าวสารตามข้อใด ต้องเป็นข้อมูลที่ต้องไปจัดทำวิเคราะห์ จำแนก รวบรวม หรือจัดใหมีขึ้นใหม่ ไม่มีข้อใดถูก ถูกทั้ง ก. และ ข. ที่มีอยู่แล้วในสภาพที่พร้อมจะให้ได้ ที่มีอยู่แล้วในสภาพที่พร้อมจะให้ได้ (ตามมาตรา 11 วรรคสาม) ภายใต้บังคับมาตรา 14 และมาตรา 15 ในพระราชบัญญัตินี้ หน่วยงานของรัฐต้องจัดให้มีข้อมูลข่าวสารของราชการอย่างน้อยดังต่อไปนี้………ไว้เพื่อวัตถุประสงค์ตามข้อใดเป็นสำคัญ เป็นข้อปฏิบัติแก่ข้าราชการในหน่วยงานนั้นๆ ให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด ถูกทุกข้อ เป็นประชาสัมพันธ์ข่าวสารของทางราชการ ให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด (ตามมาตรา 9) นอกจากข้อมูลข่าวสารของราชการที่ลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษาแล้ว หรือที่จัดไว้ให้ประชาชนเข้าตรวจดูได้แล้วหรือที่มีการจัดให้ประชาชนได้ค้นคว้าตามมาตรา 26 แล้ว ถ้าบุคคลใดขอข้อมูลข่าวสารอื่นใดของราชการอีก คำขอของผู้นั้นต้องระบุรายละเอียดอย่างไร ระบุรายละเอียดของข้อมูลข่าวสารนั้นๆตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด ไม่ต้องระบุสิ่งใด สามารถขอข้อมูลที่ต้องการได้ทันที ไม่มีข้อใดถูก ระบุข้อมูลข่าวสารที่ต้องการในลักษณะที่อาจเข้าใจได้ตามควร ระบุข้อมูลข่าวสารที่ต้องการในลักษณะที่อาจเข้าใจได้ตามควร (ตามมาตรา 11 วรรคหนึ่ง) บุคคลที่มีอำนาจในการเข้าตรวจดูเอกสาร ตามมาตรา 9 วรรคหนึ่ง (ข้อมูลข่าวสารของราชการ) จะต้องมีส่วนได้เสียในเรื่องนั้นหรือไม่ เพราะเหตุใด ไม่มีข้อใดถูก ต้องมีส่วนได้เสีย เพราะเป็นข้อมูลข่าวสารของราชการ ราชการจะปกปิดหรือไม่ไม่สำคัญ ต้องมีส่วนได้เสียเกี่ยวข้องหรือไม่ก็ได้เพราะเป็นข้อมูลข่าวสารราชการที่ประชาชนมีอำนาจตรวจดูได้อยู่ ต้องมีส่วนได้เสีย เพราะเป็นข้อมูลข่าวสารของราชการ ราชการจำต้องปกปิด ต้องมีส่วนได้เสียเกี่ยวข้องหรือไม่ก็ได้เพราะเป็นข้อมูลข่าวสารราชการที่ประชาชนมีอำนาจตรวจดูได้อยู่ (ตามมาตรา 9 วรรคสาม) ให้ผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ในข้อ 12. มีอำนาจออกกฏกระทรวง เพื่อปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ ซึ่งกฏกระทรวงจะใช้บังคับได้ต่อเมื่อได้กระทำการตามข้อใด ทันที่ที่ประกาศกฏกระทรวงนั้น เมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อรัฐสภาได้รับรอง เมื่อได้ปิดประกาศไว้ต่อหน้าศาลและที่ทำการอำเภอทุกท้องที่ เมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษา (ตามมาตรา 5 วรรคสอง) ข้อมูลข่าวสารของราชการตามข้อใด ที่หน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ อาจมีคำสั่งมิให้เปิดเผยก็ได้ ข้อมูลข่าวสารที่นำมาใช้ในการทำความเห็น ถูกทุกข้อ รายงานทางวิชาการ ความเห็นหรือคำแนะนำภายในหน่วยงานของรัฐในการดำเนินการเรื่องใด ความเห็นหรือคำแนะนำภายในหน่วยงานของรัฐในการดำเนินการเรื่องใด (ตามมาตรา 13 วรรคสอง) ในพระราชบัญญัตินี้ “ข้อมูลข่าวสาร” หมายความว่าอย่างไร สิ่งบันทึกโดยทำเป็นรูปแบบของข้อมูลในรูปแบบเอกสารเท่านั้น สิ่งที่สื่อความหมายให้รู้เรื่องราวข้อเท็จจริง ข้อมูล หรือสิ่งใดๆ ไม่ว่าการสื่อความหมายนั้นจะทำได้โดยสภาพของสิ่งนั้นเองหรือโดยผ่านวิธีการใดๆ ถูกทุกข้อ ข้อมูลต่างๆ ของทางราชการที่ถูกบันทึกในระบบคอมพิวเตอร์เท่านั้น สิ่งที่สื่อความหมายให้รู้เรื่องราวข้อเท็จจริง ข้อมูล หรือสิ่งใดๆ ไม่ว่าการสื่อความหมายนั้นจะทำได้โดยสภาพของสิ่งนั้นเองหรือโดยผ่านวิธีการใดๆ (ตามมาตรา 4) ร่างกฏหมายเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารของทางราชการได้ผ่านการพิจารณาของรัฐสภาและประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 10 กันยายน 2540 ในสมัยนายยกรัฐมนตรีท่านใด พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ นายชวน หลีกภัย นายอานันท์ ปันยารชุน นายสมัคร สุนทรเวช พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ บุคคลที่มีสิทธิในการตรวจสอบดูเอกสาร นอกจากทำการตรวจดูแล้ว ยังมีสิทธิอย่างใดกับเอกสารนั้นได้อีก ขอสำเนา ขอสำเนา หรือขอสำเนาที่มีคำรับรองถูกต้อง ขอสำเนาที่มีคำรับรองถูกต้องนำต้นฉบับออกจากสถานที่ราชการร้องขอคัดสำเนาโดยไม่เสียค่าธรรมเนียมได้ ขอสำเนาที่มีคำรับรองถูกต้องรวมทั้งการนำต้นฉบับออกจากสถานที่ราชการได้ ขอสำเนา หรือขอสำเนาที่มีคำรับรองถูกต้อง (ตามมาตรา 9 วรรคสาม) ข้อใดเป็นจุดหลักที่มาสำคัญของการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของราชการ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มติคณะรัฐมนตรี พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนฯ ประมวลกฏหมายแพ่งและพาณิชย์ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 บรรดากฏหมาย กฏ ระเบียบ และข้อบังคับอื่น ในส่วนที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้หรือซึ่งขัดหรือแย้งกับบทแห่งพระราชบัญญัตินี้ จะมีผลอย่างไร เป็นโมฆะ ไม่มีผลทางกฏหมายแต่ประการใด ใช้บังคับได้บางส่วน ให้ใช้พระราชบัญญัติแทน ให้ใช้พระราชบัญญัติแทน (มาตรา3) ข้อมูลข่าวสารของราชการที่ประชาชนสามารถตรวจดูได้ ตามหลักเกณฑ์ที่กฏหมายกำหนดนั้น หากเป็นคนต่างด้าวจะมีสิทธิตามมาตรานี้เพียงใด กรณีนี้ให้เป็นไปตามที่ผู้ใดกำหนด มติคณะรัฐมนตรี กฏกระทรวง คำสั่งของแต่ละหน่วยงานนั้นๆ คำสั่งนายกรัฐมนตรี กฏกระทรวง (ตามมาตรา 9 วรรคท้าย) Your score is LinkedIn Facebook Twitter 0% Restart quiz Related Authain Follow on Twitter May 18, 2022 449 Less than a minute Share Facebook Twitter Tumblr Pinterest Skype Messenger Messenger Line Facebook Twitter LinkedIn Tumblr Pinterest Reddit Messenger Messenger WhatsApp Line